รายงานผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลง (PA)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
ครูวิภาดา ทองขอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
โรงเรียนเทศบาล 2 “วิภัชศึกษา”
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการประเมินผล
การปฏิบัติงานตามข้อตกลง (PA)
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการประเมินผล
การปฏิบัติงานตามข้อตกลง (PA)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
นางวรดา ลาภจิตร
ครูเชี่ยวชาญ
นางวรดา ลาภจิตร
ครูเชี่ยวชาญ
นายมานพ จิตแม้น
ผู้อำนวยการสถานศึกษา
ชำนาญการพิเศษ
นายมานพ จิตแม้น
ผู้อำนวยการสถานศึกษา
ชำนาญการพิเศษ
นางศุภิสรา วังนุราช
ครูเชี่ยวชาญ
นางศุภิสรา วังนุราช
ครูเชี่ยวชาญ
ภาระงานที่ได้รับมอบหมาย
1. งานการสอน
รวม 22 ชั่วโมง
2. เจ้าหน้าที่งานวัดผล ฝ่ายวิชาการ
3. ครูที่ปรึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/4
4. ครูเวรประจำวันอังคาร
5. พิธีกรโรงเรียน
ประเด็นท้าทาย เรื่อง
การแก้ปัญหาการเขียนสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกม
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/4 โรงเรียนเทศบาล 2 “วิภัชศึกษา”
ประเด็นท้าทาย เรื่อง
การแก้ปัญหาการเขียนสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกม
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/4 โรงเรียนเทศบาล 2 “วิภัชศึกษา”
ในรายวิชา อ 16101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/4 พบว่ามีนักเรียนจำนวนหนึ่งประสบปัญหาการเขียนสะกดคำศัพท์ไม่ได้ ทำให้ทราบว่านักเรียนขาดทักษะทางด้านการเขียนเป็นอย่างมาก ทำให้ผู้ศึกษามีความสนใจที่จะนำเกมต่างๆมาเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนคำศัพท์สำหรับนักเรียน
ประเด็นท้าทาย เรื่อง
การแก้ปัญหาการเขียนสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกม
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/4 โรงเรียนเทศบาล 2 “วิภัชศึกษา”
ประเด็นท้าทาย เรื่อง
การแก้ปัญหาการเขียนสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกม
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/4 โรงเรียนเทศบาล 2 “วิภัชศึกษา”
วิธีดำเนินการ
1. ศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการพัฒนาการเขียน เพื่อช่วยจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
2. ออกแบบการเรียนรู้ และนวัตกรรมชุดฝึกคำศัพท์ โดยการใช้ชุดฝึกการเล่นเกมส์สะกดคำศัพท์ จำนวน 8 ชุด โดยจัดเรียงตามตัวอักษร
3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน
4. ดำเนินกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแผนที่วางไว้
5. ประเมินผลสัมฤทธิ์หลังเรียน และวิเคราะห์สรุปผล
ประเด็นท้าทาย เรื่อง
การแก้ปัญหาการเขียนสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกม
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/4 โรงเรียนเทศบาล 2 “วิภัชศึกษา”
ประเด็นท้าทาย เรื่อง
การแก้ปัญหาการเขียนสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกม
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/4 โรงเรียนเทศบาล 2 “วิภัชศึกษา”
ผลเชิงปริมาณ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/4 ร้อยละ 70 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพัฒนาด้านการเขียนสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษได้ดียิ่งขึ้น โดยการแก้ไขปัญหาการเขียนสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมฝึกการอ่านคำศัพท์ 8 ชุด หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
ผลเชิงคุณภาพ
มีนวัตกรรมการแก้ไขปัยหาการเขียนสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เกมฝึกการเขียนและอ่านคำศัพท์ 8 ชุด เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/4 โรงเรียนเทศบาล 2 “วิภัชศึกษา”
กิจกรรมการประกวดแข่งขัน
กล่าวสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ ระดับชั้น ป.4 - ป.6
งานประกวดแข่งขันทักษะทางวิชาการ
ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ณ เทศบาลนครอุดรธานี
จังหวัดอุดรธานี
กิจกรรมการประกวดแข่งขัน
กล่าวสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ ระดับชั้น ป.4 - ป.6
งานประกวดแข่งขันทักษะทางวิชาการ
ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ณ เทศบาลนครอุดรธานี
จังหวัดอุดรธานี
เกียรบัตร รางวัลที่ได้รับ
ครูผู้ฝึกสอนนักเรียน ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง
รองชนะเลิศอันดับที่ 1 กิจกรรมการประกวดแข่งขัน
กล่าวสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ ระดับชั้น ป.4 - ป.6
งานประกวดแข่งขันทักษะทางวิชาการ
ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ณ เทศบาลนครอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
ครูผู้ฝึกสอนนักเรียน ได้รับรางวัลระดับเหรียญ
ทองแดง กิจกรรมการประกวดแข่งขันกล่าว
สุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ ระดับชั้น ป.4 - ป.6
งานประกวดแข่งขันทักษะทางวิชาการ ระดับประเทศ
ณ เทศบาลนครเชียงราย จังหวัดเชียงราย
องค์ประกอบที่ 1 : การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง
2. การออกแบบการจัดการเรียนรู้
ดำเนินการจัดทำและพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ เหมาะสมกับผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตร
4. สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้
ดำเนินการสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนการสอนโดยใช้โปรแกรมสร้างงานนำเสนอข้อมูล (Microsoft PowerPoint) เพื่อใช้ประกอบการอธิบายเนื้อหาในการจัดการเรียนรู้ สามารถแก้ไขปัญหาในการเรียนรู้ของผู้เรียน และทำให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดและสามารถสร้างนวัตกรรมได้
5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ดำเนินการสร้างและพัฒนาเครื่องมือเพื่อใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้อย่างหลากหลาย และครอบคลุมทั้งด้านพุทธิพิสัยหรือด้านความรู้ (K) , ด้านทักษะพิสัยหรือด้านทักษะ (P) และด้านเจตพิสัยหรือด้านเจตคติ (A) ดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตาม สภาพจริง เพื่อปรับปรุง พัฒนา
ตัดสินผลการเรียนรู้
6. การศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์
เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้
ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ ปัญหาที่เกิดจากการจัดการเรียนการสอน หรือการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยใช้ระบบวิธีการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน และนำผลการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์มาใช้แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการจัดการเรียนรู้
7. จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน
ให้เกิดกระบวนการคิดทักษะชีวิต
จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ริเริ่ม คิดค้น และพัฒนาการจัดบรรยากาศที่เหมาะสม สอดคล้องกับความแตกต่างผู้เรียนเป็นรายบุคคล สามารถแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ และสร้างแรงบันดาลใจ ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี และเป็นแบบอย่างที่ดีในการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน
องค์ประกอบที่ 2 : ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
2. ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
ดำเนินการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลของผู้เรียน เพื่อแบ่งกลุ่มของผู้เรียน ประกอบด้วย กลุ่มไว้ใจ เป็นกลุ่มที่ส่งเสริม , กลุ่มห่วงใย และกลุ่มใกล้ชิด คือผู้เรียนที่ต้องกำกับ ดูแลพฤติกรรมอย่างใกล้ชิด
4. ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ
ข้าพเจ้าใช้หลักกัลยาณมิตร และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ทุกกลุ่ม ทุกเพศ และทุกวัย จึงได้รับการยอมรับจากผู้บริหารโรงเรียน ผู้ร่วมงาน เด็ก ผู้ปกครองและประชาชนทั่วไป
องค์ประกอบที่ 3 : ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
1. พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
1. พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
มีการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการศึกษา สมรรถนะวิชาชีพครูและความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการสอน และนำผลการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่มีผลต่อคุณภาพผู้เรียน
2. มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
2. มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเพื่อนร่วมวิชาชีพทั้งภายในและนอกสถานศึกษา ทั้งในรูปแบบเครือข่ายทางวิชาการ หรือชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ เช่น แอพพลิเคชั่นไลน์ (Line) หรือ เฟสบุ๊ค (Facebook) เป็นต้น
3. นำความรู้ความสามารถ ทักษะ ที่ได้จากการ
พัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้
3. นำความรู้ความสามารถ ทักษะ ที่ได้จากการ
พัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้
นำความรู้ความสามารถ ทักษะ ที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมเพื่อการจัดการเรียนรู้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน