การจัดการเรียนรู้
การส่งเสริมและสนับสนุน
การจัดการเรียนรู้
การพัฒนาตนเอง
และพัฒนาวิชาชีพ
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
ภาระงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 18 ชั่วโมง / สัปดาห์ ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
รายวิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา การสื่อสารภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
รายวิชา คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
รายวิชา หน้าที่พลเมือง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
รายวิชา ลูกเสือสำรอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา แนะแนว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา ชุมนุม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. กำหนด
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
ภาระงาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
รายวิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 20 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
รายวิชา หน้าที่พลเมือง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/4 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
รายวิชา ลูกเสือสำรอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. กำหนด
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
- การมีส่วนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- นิเทศ/สังเกตการสอน จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 9 ชั่วโมง/สัปดาห์
- จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
- จัดทำสื่อการเรียนรู้ จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
- งานธุรการในชั้นเรียน จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน - ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. กำหนด
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นการเรียนรู้ของผู้เรียน
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นการเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นท้าทาย เรื่อง
การแก้ไขปัญหาทักษะการอ่านออกเสียง และเขียนคำมาตราตัวสะกดแม่กมโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ประเด็นท้าทาย เรื่อง
การแก้ไขปัญหาทักษะการอ่านออกเสียง และเขียนคำมาตราตัวสะกดแม่กมโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นการเรียนรู้ของผู้เรียน
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นการเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นท้าทาย เรื่อง
การแก้ไขปัญหาทักษะการอ่านออกเสียง และเขียนคำมาตราตัวสะกดแม่กม โดยใช้
การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
1. สภาพปัญหา การจัดการเรียนรู้ และคุณภาพของผู้เรียน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่านักเรียนส่วนใหญ่นักเรียนอ่านและเขียนสะกดคำไม่ถูกต้อง ซึ่งมีสาเหตุมาจากนักเรียนส่วนใหญ่ไม่สามารถออกเสียงคำที่สะกดด้วยมาตราแม่กมได้ชัด ส่งผลให้นักเรียนอ่านเขียนไม่ถูกต้อง ครูผู้สอนจึงคิดหาวิธีที่จะช่วยจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการสร้างแบบฝึกการอ่านออกเสียง และเขียนคำมาตราตัวสะกดแม่กม โดยใช้การจัด การเรียนรู้แบบ Active Learning
2. วิธีการดำเนินงานให้บรรลุผล
1. ครูพบปะพูดคุยกับนักเรียน เพื่อสังเกตความพร้อม และสร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลาย
2. ครูถือตะกร้าคำ ผลไม้แม่ กม มาแจกให้นักเรียน เพื่อนำไปติดที่ต้นไม้แม่ กม หน้ากระดาน สังเกตคำที่มีตัวสะกดเหมือนกัน
3. นักเรียนแต่ละคนปฏิบัติกิจกรรมจากใบงานครูแจกใบงานที่ 10 เรื่อง การแต่งประโยค
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงาน และอ่านชุดหนังสือมาตราตัวสะกดแม่กม
5. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปจากประเด็นคำถาม
3. ผลลัพธ์ที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ นักเรียนมีผลการประเมินความรู้การอ่านและการเขียนสะกดที่สะกดตรงตามมาตรา ร้อยละ 70 ขึ้นไป กลุ่มเด็กพิเศษมีผลการประเมิน ร้อยละ 50 ขึ้นไป
3.2 เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ สามารอ่านและเขียนสะกดคำตรงมาตราได้
ด้านที่ 1 การจัดการเรียนรู้
ด้านที่ 1 การจัดการเรียนรู้
ด้านที่ 2 การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
ด้านที่ 2 การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
ด้านที่ 3 การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
ด้านที่ 3 การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
ด้านที่ 3 การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
ด้านที่ 3 การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
3.3 นำความรู้ที่ได้จากการพัฒนาตนเอง
มาพัฒนาการจัดการเรียนรู้
นำความรู้ความสามารถ ทักษะ ที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมเพื่อการจัดการเรียนรู้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน